Print
Category: 2565
Hits: 426

คำพิพากษำศำลอุทธรณ์คดีช ำนัญพิเศษที่ 1579/2565 สหกรณ์ออมทรัพย์ครูเพชรบูรณ์ จ ำกัด โจทก์
นำงอำภัสรำ สำยทองมำตร์ กับพวก จ ำเลย
ป.พ.พ. มำตรำ ๒๒๔, ๓๗๙, ๓๘๓ วรรคหนึ่ง, ๔๓๘ วรรคหนึ่ง
พ.ร.ก. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ พ.ศ. ๒๕๖๔ มำตรำ ๔, ๗
โจทก์มีสิทธิเรียกค่ำเสียหำยจำกจ ำเลยทั้งสองในมูลละเมิดและผิดสัญญำจ้ำงแรงงำน
แต่ค่ำเสียหำยในมูลละเมิดและผิดสัญญำจ้ำงแรงงำนดังกล่ำวเป็นค่ำเสียหำยในมูลกรณีเดียวกัน
เมื่อข้อตกลงตำมสัญญำจ้ำงแรงงำน ข้อ ๔ วรรคหนึ่ง มีลักษณะเป็นกำรท ำสัญญำก ำหนดค่ำเสียหำย
ไว้ล่วงหน้ำในกรณีจ ำเลยทั้งสองไม่ช ำระหนี้ หรือไม่ช ำระหนี้ให้ถูกต้องสมควร อันเป็นเบี้ยปรับ
ตำม ป.พ.พ. มำตรำ ๓๗๙ ซึ่งศำลมีอ ำนำจใช้ดุลพินิจลดลงได้ตำมที่เห็นสมควรตำม ป.พ.พ. มำตรำ ๓๘๓
วรรคหนึ่ง กำรที่ศำลแรงงำนภำค ๖ ก ำหนดให้จ ำเลยทั้งสองร่วมกันรับผิดชดใช้ค่ำเสียหำยแก่โจทก์
๑,๕๐๐,๐๐๐ บำท พร้อมดอกเบี้ย แม้จะวินิจฉัยอย่ำงรวบรัด แต่เมื่อพิจำรณำกำรวินิจฉัย
ของศำลแรงงำนภำค ๖ แล้ว พออนุมำนได้ว่ำเป็นกรณีที่ศำลแรงงำนภำค ๖ ใช้ดุลพินิจก ำหนด
ค่ำเสียหำยในมูลละเมิด และลดเบี้ยปรับในค่ำเสียหำยจำกกำรผิดสัญญำจ้ำงแรงงำนโดยถือว่ำ
เป็นค่ำเสียหำยจ ำนวนเดียวกับค่ำเสียหำยในมูลละเมิด ซึ่งกำรกระท ำละเมิดของจ ำเลยทั้งสอง
กับนำง น. ต่อโจทก์เป็นต่ำงคนต่ำงท ำละเมิด ผลแห่งควำมรับผิดในค่ำเสียหำยต่อโจทก์
จึงแบ่งแยกกันได้ จ ำเลยทั้งสองจึงไม่ต้องร่วมรับผิดในค่ำเสียหำยต่อโจทก์เต็มตำมที่นำง น. ทุจริต
รับเงินกู้ไปจำกโจทก์ ศำลแรงงำนภำค ๖ จึงมีอ ำนำจก ำหนดค่ำเสียหำยตำมสมควรแก่พฤติกำรณ์
และควำมร้ำยแรงแห่งละเมิดที่จ ำเลยทั้งสองกระท ำละเมิดต่อโจทก์ได้ตำม ป.พ.พ. มำตรำ ๔๓๘
วรรคหนึ่ง เมื่อกำรใช้ดุลพินิจก ำหนดค่ำเสียหำยในมูลละเมิด และลดเบี้ยปรับลงมำกน้อยเพียงใด
เป็นปัญหำข้อเท็จจริง กรณีจึงไม่มีเหตุที่ศำลอุทธรณ์คดีช ำนัญพิเศษจะเปลี่ยนแปลงแก้ไข
กำรประกำศใช้ พ.ร.ก. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ พ.ศ. ๒๕๖๔
โดยมำตรำ ๔ ให้ยกเลิกควำมในมำตรำ ๒๒๔ แห่ง ป.พ.พ. และให้ใช้ควำมใหม่แทน และมำตรำ ๗
ให้น ำบทบัญญัติมำตรำ ๒๒๔ ที่แก้ไขใหม่ใช้แก่กำรคิดดอกเบี้ยผิดนัดที่ถึงก ำหนดเวลำช ำระหนี้ตั้งแต่
วันที่ พ.ร.ก. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ พ.ศ. ๒๕๖๔ มีผลใช้บังคับในวันที่
๑๑ เมษำยน ๒๕๖๔ เป็นผลให้อัตรำดอกเบี้ยผิดนัดปรับเปลี่ยนจำกอัตรำร้อยละ ๗.๕ ต่อปี เป็นอัตรำ
ที่ก ำหนดตำมมำตรำ ๗ บวกด้วยอัตรำเพิ่มร้อยละ ๒ ต่อปี แต่ทั้งนี้อัตรำดอกเบี้ยตำมมำตรำ ๗
อำจปรับเปลี่ยนให้ลดลงหรือเพิ่มขึ้นตำมพระรำชกฤษฎีกำ ศำลจึงต้องก ำหนดอัตรำดอกเบี้ย
ตำมพระรำชก ำหนดดังกล่ำว มูลหนี้ในคดีนี้เกิดขึ้นก่อนวันที่ พ.ร.ก. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมำย
แพ่งและพำณิชย์ พ.ศ. ๒๕๖๔ ใช้บังคับ กำรที่ศำลแรงงำนภำค ๖ ก ำหนดให้จ ำเลยทั้งสองร่วมกัน
ช ำระดอกเบี้ยอัตรำร้อยละ ๕ ต่อปี นับถัดจำกวันฟ้อง (ฟ้องวันที่ ๒๐ ธันวำคม ๒๕๖๐) เป็นต้นไป
จนกว่ำจะช ำระเสร็จแก่โจทก์ จึงไม่ชอบด้วยกฎหมำย
______________________________

คดีสืบเนื่องมาจากโจทก์ฟ้องและแก้ไขค าฟ้อง ขอให้บังคับจ าเลยทั้งสองร่วมกันหรือแทนกัน
ชดใช้เงิน ๖,๒๓๖,๘๕๖.๕๐ บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี ของต้นเงิน ๔,๕๑๖,๕๑๕.๘๔ บาท
นับถัดจากวันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าจะช าระเสร็จแก่โจทก์
จ าเลยทั้งสองให้การ ขอให้ยกฟ้อง
ศาลแรงงานภาค ๖ พิพากษาให้จ าเลยที่ ๑ ชดใช้เงิน ๘๒๐,๐๐๐ บาท พร้อมดอกเบี้ย
อัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี นับแต่วันฟ้อง (ฟ้องวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๐) เป็นต้นไปจนกว่าจะช าระเสร็จ
แก่โจทก์ ค าขออื่นนอกจากนี้ให้ยก และยกฟ้องโจทก์ส าหรับจ าเลยที่ ๒
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช านัญพิเศษแผนกคดีแรงงานพิพากษายกอุทธรณ์ของโจทก์
โจทก์ฎีกาโดยได้รับอนุญาตจากศาลฎีกา
ศาลฎีกาแผนกคดีแรงงานพิพากษากลับให้ยกค าพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีช านัญพิเศษ
และแก้ค าพิพากษาศาลแรงงานภาค ๖ เป็นว่า ให้จ าเลยทั้งสองร่วมกันรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้แก่
โจทก์พร้อมดอกเบี้ย โดยย้อนส านวนให้ศาลแรงงานภาค ๖ ฟังข้อเท็จจริงเพิ่มเติมว่า จ าเลยทั้งสอง
ต้องร่วมกันรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์เพียงใด โจทก์ได้รับช าระหนี้จากนางนัยนาในมูลหนี้
ตามส าเนาหนังสือกู้ส าหรับกู้เงินสามัญ และได้รับช าระหนี้ในมูลหนี้ดังกล่าวจากกองทรัพย์สิน
ของนางนัยนาในคดีล้มละลาย ของศาลล้มละลายกลาง จ านวนเท่าใด แล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี
ศาลแรงงานภาค ๖ พิพากษาให้จ าเลยทั้งสองร่วมกันชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท
พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ ๕ ต่อปี ของต้นเงินจ านวนดังกล่าว นับถัดจากวันฟ้อง (ฟ้องวันที่
๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๐) เป็นต้นไปจนกว่าจะช าระเสร็จแก่โจทก์
โจทก์อุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์คดีช านัญพิเศษแผนกคดีแรงงานวินิจฉัยว่า ศาลแรงงานภาค ๖ ฟังข้อเท็จจริง
เพิ่มเติมตามค าพิพากษาศาลฎีกาว่า ภายหลังเกิดเหตุนางนัยนายอมช าระหนี้ทั้งของตนเองและในส่วนที่
ทุจริตรับเงินกู้แทนนางประกอบ และนายกก โดยท าหนังสือรับสภาพหนี้ให้แก่โจทก์ไว้ แต่ไม่สามารถ
ช าระหนี้ได้ครบถ้วน โจทก์จึงฟ้องนางนัยนาเป็นคดีแพ่งต่อศาลจังหวัดเพชรบูรณ์ โจทก์และนางนัยนา
ท าสัญญาประนีประนอมยอมความกัน โดยนางนัยนายอมช าระต้นเงินพร้อมดอกเบี้ยเป็นเงิน
๔,๕๒๓,๒๐๖.๗๓ บาท ศาลจังหวัดเพชรบูรณ์มีค าพิพากษาตามยอม นางนัยนาผ่อนช าระเดือนละ
๓๐,๐๐๐ บาท ได้ ๕ เดือน เดือนสุดท้ายเมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๖ ซึ่งช าระต้นเงินได้บางส่วนแล้วไม่
ช าระอีกเลย โจทก์น าเงินฝากออมทรัพย์ของนางนัยนามาหักช าระดอกเบี้ย และด าเนินการบังคับคดี
ได้เงินน้อยกว่าส่วนของดอกเบี้ยค้างช าระ นางนัยนาส่งช าระต้นเงินและดอกเบี้ยให้แก่โจทก์มาแล้ว
เป็นต้นเงิน ๑,๔๖๘,๙๙๘.๖๕ บาท ดอกเบี้ย ๑,๖๐๖,๓๒๔.๔๙ บาท รวมเป็นเงิน ๓,๐๗๕,๓๒๒.๘๔ บาท
เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๐ โจทก์ฟ้องขอให้นางนัยนาเป็นบุคคลล้มละลาย ศาลล้มละลายกลาง
มีค าสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของนางนัยนาเด็ดขาดเมื่อวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๑ ต่อมาวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๒
ศาลล้มละลายกลางมีค าสั่งยกเลิกการล้มละลายของนางนัยนา แล้ววินิจฉัยว่า เงิน ๓,๐๗๕,๓๒๒.๘๔ บาท
ที่นางนัยนาส่งช าระให้แก่โจทก์มานั้น เป็นการช าระหนี้ในส่วนที่นางนัยนาเองเป็นผู้กู้เงินโจทก์
สัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งศาลจังหวัดเพชรบูรณ์มีค าพิพากษาตามยอมท าให้หนี้ตามส าเนา
หนังสือกู้ส าหรับกู้เงินสามัญระงับสิ้นไป และท าให้แต่ละฝ่ายได้สิทธิตามที่แสดงในสัญญาประนีประนอม

ยอมความว่าเป็นของตน ในส่วนคดีล้มละลาย เมื่อศาลล้มละลายกลางมีค าสั่งยกเลิกการล้มละลาย
ของนางนัยนา จึงไม่มีกองทรัพย์สินของนางนัยนาให้ขอรับช าระหนี้ได้ ทั้งนี้ นางนัยนายังคงเป็นหนี้
ที่ทุจริตรับเงินกู้แทนนางประกอบและนายกกในจ านวนตามค าพิพากษาตามยอมของ
ศาลจังหวัดเพชรบูรณ์เป็นต้นเงิน ๔,๕๑๖,๕๑๕.๘๔ บาท ดอกเบี้ย ๒,๑๙๑,๔๗๕.๘๗ บาท รวมเป็นเงิน
๖,๗๐๗,๙๙๑.๗๑ บาท อันเป็นความเสียหายที่โจทก์ได้รับจากการกระท าของนางนัยนาและจ าเลยทั้งสอง
ซึ่งแตกต่างกันในลักษณะของการกระท า อันเป็นหนี้ที่แบ่งแยกกันได้ สมควรแยกความรับผิด
ของนางนัยนาและจ าเลยทั้งสองให้เหมาะสม โดยก าหนดให้จ าเลยทั้งสองร่วมกันรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย
ให้แก่โจทก์ตามพฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งการกระท าเป็นเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท พร้อมดอกเบี้ย
คดีมีปัญหาวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า จ าเลยทั้งสองต้องร่วมกันรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย
ให้แก่โจทก์เพียงใด เห็นว่า คดีนี้โจทก์มีสิทธิเรียกค่าเสียหายจากจ าเลยทั้งสองในมูลละเมิด
และผิดสัญญาจ้างแรงงาน แต่ค่าเสียหายในมูลละเมิดและผิดสัญญาจ้างแรงงานดังกล่าวเป็นค่าเสียหาย
ในมูลกรณีเดียวกัน เมื่อข้อตกลงตามสัญญาจ้างแรงงาน เอกสารหมาย จ.๒๒ และ จ.๒๘ ข้อ ๔ วรรคหนึ่ง
มีลักษณะเป็นการท าสัญญาก าหนดค่าเสียหายไว้ล่วงหน้าในกรณีจ าเลยทั้งสองไม่ช าระหนี้ หรือไม่ช าระ
หนี้ให้ถูกต้องสมควร อันเป็นเบี้ยปรับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๓๗๙ ซึ่งศาล
มีอ านาจใช้ดุลพินิจลดลงได้ตามที่เห็นสมควรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๓๘๓ วรรคหนึ่ง
การที่ศาลแรงงานภาค ๖ ก าหนดให้จ าเลยทั้งสองร่วมกันรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท
พร้อมดอกเบี้ย แม้จะวินิจฉัยอย่างรวบรัด แต่เมื่อพิจารณาการวินิจฉัยของศาลแรงงานภาค ๖ แล้ว
พออนุมานได้ว่าเป็นกรณีที่ศาลแรงงานภาค ๖ ใช้ดุลพินิจก าหนดค่าเสียหายในมูลละเมิด และลดเบี้ยปรับ
ในค่าเสียหายจากการผิดสัญญาจ้างแรงงานโดยถือว่าเป็นค่าเสียหายจ านวนเดียวกับค่าเสียหาย
ในมูลละเมิด ซึ่งการกระท าละเมิดของจ าเลยทั้งสองกับนางนัยนาต่อโจทก์เป็นต่างคนต่างท าละเมิด
ผลแห่งความรับผิดในค่าเสียหายต่อโจทก์จึงแบ่งแยกกันได้ จ าเลยทั้งสองจึงไม่ต้องร่วมรับผิด
ในค่าเสียหายต่อโจทก์เต็มตามที่นางนัยนา ทุจริตรับเงินกู้ไปจากโจทก์ ศาลแรงงานภาค ๖ จึงมีอ านาจ
ก าหนดค่าเสียหายตามสมควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิดที่จ าเลยทั้งสองกระท าละเมิด
ต่อโจทก์ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๓๘ วรรคหนึ่ง เมื่อการใช้ดุลพินิจก าหนด
ค่าเสียหายในมูลละเมิด และลดเบี้ยปรับลงมากน้อยเพียงใดเป็นปัญหาข้อเท็จจริง กรณีจึงไม่มีเหตุ
ที่ศาลอุทธรณ์คดีช านัญพิเศษจะเปลี่ยนแปลงแก้ไข
คดีมีปัญหาวินิจฉัยตามอุทธรณ์ของโจทก์ประการต่อไปว่า การที่ศาลแรงงานภาค ๖ ก าหนดให้
จ าเลยทั้งสองช าระดอกเบี้ยอัตราร้อยละ ๕ ต่อปี นับถัดจากวันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าจะช าระเสร็จแก่โจทก์
ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เห็นว่า โดยที่มีการประกาศใช้พระราชก าหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยมาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๒๔ แห่งประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์และให้ใช้ความใหม่แทน และมาตรา ๗ ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๒๒๔ ที่แก้ไขใหม่ใช้
แก่การคิดดอกเบี้ยผิดนัดที่ถึงก าหนดเวลาช าระหนี้ตั้งแต่วันที่พระราชก าหนดแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. ๒๕๖๔ มีผลใช้บังคับในวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๔ เป็นผลให้
อัตราดอกเบี้ยผิดนัดปรับเปลี่ยนจากอัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี เป็นอัตราที่ก าหนดตามมาตรา ๗
บวกด้วยอัตราเพิ่มร้อยละ ๒ ต่อปี แต่ทั้งนี้อัตราดอกเบี้ยตามมาตรา ๗ อาจปรับเปลี่ยนให้ลดลง
หรือเพิ่มขึ้นตามพระราชกฤษฎีกา ศาลจึงต้องก าหนดอัตราดอกเบี้ยตามพระราชก าหนดดังกล่าว มูลหนี้

ในคดีนี้เกิดขึ้นก่อนวันที่พระราชก าหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. ๒๕๖๔
ใช้บังคับ การที่ศาลแรงงานภาค ๖ ก าหนดให้จ าเลยทั้งสองร่วมกันช าระดอกเบี้ยอัตราร้อยละ ๕ ต่อปี
นับถัดจากวันฟ้อง (ฟ้องวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๐) เป็นต้นไปจนกว่าจะช าระเสร็จแก่โจทก์
จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย
พิพากษาแก้เป็นว่า ให้จ าเลยทั้งสองร่วมกันช าระดอกเบี้ยอัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี
ของต้นเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท นับถัดจากวันฟ้อง (ฟ้องวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๐) เป็นต้นไป
จนถึงวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๔ และดอกเบี้ยอัตราร้อยละ ๕ ต่อปี ของต้นเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท
นับแต่วันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๔ เป็นต้นไปจนกว่าจะช าระเสร็จแก่โจทก์ ทั้งนี้ ดอกเบี้ยนับแต่วันที่
๑๑ เมษายน ๒๕๖๔ ให้ปรับเปลี่ยนลดลงหรือเพิ่มขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาซึ่งตราขึ้น
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๗ บวกด้วยอัตราเพิ่มร้อยละ ๒ ต่อปี แต่ต้องไม่เกินอัตรา
ร้อยละ ๗.๕ ต่อปี ตามที่โจทก์มีค าขอท้ายค าฟ้อง นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามค าพิพากษา
ศาลแรงงานภาค ๖.
(ไพรัช โปร่งแสง - วิโรจน์ ตุลำพันธุ์ - ปณิธำน วิสุทธำกร)
มนุเชษฐ์ โรจนศิริบุตร - ย่อ
อิสรำ วรรณสวำท - ตรวจ